หน้าหลัก ธรรมะออนไลน์ เรียงตามแก่นแห่งพุทธธรรม และพระอาจารย์
Search:
หน้าแรก : หมวดธรรมออนไลน์

“..... บุคคลที่ยังมีตัณหา มานะ ทิฎฐิ อาศัยอยู่ ย่อมมีความหวั่นไหว
ความหวั่นไหวย่อมไม่มี แก่บุคคลที่ไม่มีตัณหา มานะ และทิฎฐิอาศัยอยู่
เมื่อความหวั่นไหวไม่มี ย่อมมี ความสงบระงับ
เมื่อมีความสงบระงับ ย่อมไม่มีความเพลิดเพลิน ความมาความไปก็ไม่มี
เมื่อจุติและอุบัติไม่มี โลกนี้และโลกหน้า และระหว่างโลกทั้ง ๒ ก็ไม่มี
นี้แหละเป็นที่สุดแห่งทุกข์

หนังสือ พระพุทธศาสนาจากพระโอษฐ์
รองศาสตราจารย์แสง จันทร์งาม


แก่นแห่งพุทธธรรม::[อริยสัจสี่]
ที่ พระอาจารย์ ชื่อเรื่อง ชื่อแผ่น คลิกฟัง
1พระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร)อริยสัจจังCD_069 (08)
2พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน)อริยสัจจธรรม 27 สค 27 A.mp3CD_101 (06)
3พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน)อริยสัจใหม่เอี่ยมอยู่ในจิต 25 มิ.ย. 24 ACD_101 (04)
4พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน)เดินตามหลักธรรมด้วยอริยสัจ 13 ต.ค. 22CD_101 (03)
5พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)อาสาฬหบูชาเทศนา พ.ศ. ๒๕๒๙ กัณฑ์ ๒ -: อริยสัจจ์แผ่นที่ 06
6พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)อาสาฬหบูชาเทศนา พ.ศ. ๒๕๓๑ กัณฑ์ที่ ๑ -: อตัมมยตากับอริยสัจจส...แผ่นที่ 06
7พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)หัวใจพุทธศาสนา เทศน์ในวันทอดกฐินธรรมเทศนา - ภาษาไทย 105 ขันธ์
8พระโพธิธรรมาจารย์เถระ (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ)อริยสัจ ๔.mp3CD_007 (01)
9พระโพธิธรรมาจารย์เถระ (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ)อริยสัจ ๔.mp3CD_007 (02)
10พระโพธิธรรมาจารย์เถระ (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ)อริยสัจธรรม.mp3CD_007 (03)
11พระโพธิธรรมาจารย์เถระ (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ)อริยสัจธรรมทั้ง ๔.mp3CD_007 (02)
12สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯกิจในอริยสัจแผ่นที่ 12
13สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯกิจในอริยสัจ ๔..นัย ๑แผ่นที่ 03
14สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯกิจในอริยสัจ ๔..นัย ๒แผ่นที่ 03
15สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯความหมายของอริยสัจแผ่นที่ 12
16สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯอริยสัจ ๔ และปฏิบัติศีลวัตรแผ่นที่ 03
17สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯอริยสัจ๔ ในปฏิจจสมุปบาท..นัย ๑แผ่นที่ 06
18สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯอริยสัจ๔ ในปฏิจจสมุปบาท..นัย ๒แผ่นที่ 06
19หลวงปู่จันทา ถาวโรอริยสัจ4 มรรค8.mp3CD_083 (02)
         
หน้า   1
 

ย้อนกลับ

ฟังธรรมะบรรยาย
(มากกว่า ๔,๐๐๐ ไฟล์)

อ่านพระไตรปิฎก
(คัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา)
อ่านหนังสือธรรมะออนไลน์
(โดยพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง)
วิธีปฏิบัติธรรม
(ธรรมะภาคปฏิบัติ)

จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
     จุดหมายสูงสุด ของพระพุทธศาสนา พึงบรรลุได้ด้วยความสุขหรือด้วยข้อปฏิบัติที่มีความสุข มิใช่บรรลุด้วยความทุกข์ หรือด้วยข้อปฏิบัติที่เป็นทุกข์
      ผู้ปฏิบัติจะต้องไม่ติดใจหลงไหลในความสุขที่เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ปล่อยให้ความสุขที่เกิดขึ้นนั้น ครอบงำ
        จิตใจของตน ยังมีจิตใจเป็นอิสระ สามารถก้าวหน้าไปในธรรมเบื้องสูง ต่อๆ ไป จนบรรลุความเป็นอิสระ
        หลุดพ้นโดยบริบูรณ์
      ซึ่งเมื่อบรรลุจุดหมายนั้นแล้ว ก็สามารถเสวยความสุขที่เคยเสวยมาแล้ว โดยที่ความสุขนั้น ไม่มีโอกาส
        ครอบงำจิตใจ ทำให้ติดพันหลงไหลได้เลย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

หลักแห่งพระพุทธศาสนาโดยสรุป
     พุทธศาสนาคือวิชาและระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้รู้สิ่งทั้งปวงถูกต้องตามที่เป็นจริงว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งทั้งปวง มีสภาพตามที่เป็นจริง คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวหรือของตัว ; แต่สัตว์ทั้งหลายยังหลงรัก หลงยึดติดสิ่งทั้งปวง เพราะอำนาจของการยึดมั่นที่ผิด ในพุทธศาสนามีวิธี ปฏิบัติเรียกว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัดการติดการยึดมั่นนั้นเสีย อุปาทาน การยึดมั่นนั้นมีสิ่งที่ลงเกาะหรือจับยึด คือ ขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
      เมื่อรู้จักขันธ์ทั้งห้า ตามที่เป็นจริง ก็จะสามารถเข้าใจสิ่งทั้งปวงจนถึงกับเบื่อหน่ายคลายความอยาก ไม่ยึดอะไร ติดอะไร และเราควรจะมีชีวิตอยู่อย่างที่เรียกว่า "เป็นอยู่ชอบ" คือให้ วันคืนเต็มไปด้วยความปีติ ปราโมทย์ อันเกิดมาจากการกระทำที่ดีที่งามที่ถูกต้องอยู่เป็นประจำ แล้วระงับความฟุ้งซ่าน เกิดสมาธิ เกิดความเห็นแจ้งได้เรื่อยๆ ไป จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย ความคลายออก ความหลุดพ้น และนิพพานได้ตามความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
      ถ้าเราจะรีบเร่งทำให้ได้ผลเร็วขึ้น ก็มีแนวปฏิบัติที่เรียกว่า วิปัสสนาธุระ เริ่มตั้งแต่มี ความประพฤติบริสุทธิ์ มีใจบริสุทธิ์ มีความเห็นบริสุทธิ์ เรื่อยขึ้นไปจนถึงมีปัญญา คือความเห็นแจ้งบริสุทธิ์ ในที่สุดก็จะตัดกิเลสที่ผูกมัดคนให้ติดอยู่กับวิสัยโลกออกเสียได้ เรียกว่า การบรรลุมรรคผล
ท่านพุทธทาสภิกขุ : คู่มือมนุษย์



สงวนลิขสิทธิ์โดย ธรรมะพีเดีย.คอม
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา โดยไม่มุ่งหวังผลทางพาณิชย์
อนุญาตให้นำไปเผยแผ่เพื่อสืบต่อพุทธศาสนาได้ตามกุศลเจตนา

www.thammapedia.com
( ศูนย์เผยแผ่พระพุทธธรรม )
Copyright © 2008 ALL RIGHTS RESERVED
 
 
หน้าหลัก