หน้าหลัก ศาสนพิธี สำนักงานพระพุทธศาสนาประจำจังหวัด
Search:

"พิธีกรรมทางศาสนานั้น เปรียบเสมือนเปลือกของต้นไม้ ต้นไม้ที่ปราศจากเปลือกห่อหุ้ม ย่ิอมไม่สามารถยืนต้นอยู่ได้"


หน้าแรก : หมวดศาสนพิธี
องค์กรทางพระพุทธศาสนา

ศูนย์กลางพุทธศาสนาของโลก องค์กรทางพระพุทธศาสนา
สถาบันการศึกษาด้านพุทธศาสนา ทะเบียนวัดในประเทศไทย

สำนักงานพระพุทธศาสนาประจำจังหวัด
ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก ภาคใต้
ภาคกลาง
จังหวัดชัยนาท จังหวัดลพบุรี
จังหวัดนครนายก จังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสงคราม
จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดสมุทรสาคร
จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสิงห์บุรี
จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสุโขทัย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุพรรณบุรี
จังหวัดพิจิตร จังหวัดสระบุรี
จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอ่างทอง
จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดอุทัยธานี
[กลับขึ้นบน]
ภาคเหนือ
จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดแพร่
จังหวัดเชียงราย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำปาง
จังหวัดน่าน จังหวัดลำพูน
จังหวัดพะเยา จังหวัดอุตรดิตถ์
[กลับขึ้นบน]
ภาคตะวันออก
จังหวัดจันทบุรี จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง
จังหวัดชลบุรี จังหวัดสระแก้ว
จังหวัดตราด  
[กลับขึ้นบน]
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดเลย
จังหวัดขอนแก่น จังหวัดสกลนคร
จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดสุรินทร์
จังหวัดนครพนม จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดหนองคาย
จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดหนองบัวลำภู
จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดอุดรธานี
จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดยโสธร จังหวัดอำนาจเจริญ
จังหวัดร้อยเอ็ด
[กลับขึ้นบน]
ภาคตะวันตก
จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดเพชรบุรี
จังหวัดตาก จังหวัดราชบุรี
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  
[กลับขึ้นบน]
ภาคใต้
จังหวัดชุมพร จังหวัดภูเก็ต
จังหวัดระนอง จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสงขลา
จังหวัดกระบี่ จังหวัดพัทลุง
จังหวัดสตูล จังหวัดยะลา
จังหวัดพังงา จังหวัดปัตตานี
จังหวัดตรัง จังหวัดนราธิวาส
[กลับขึ้นบน]

ฟังธรรมะบรรยาย
(มากกว่า ๔,๐๐๐ ไฟล์)

อ่านพระไตรปิฎก
(คัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา)
อ่านหนังสือธรรมะออนไลน์
(โดยพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง)
วิธีปฏิบัติธรรม
(ธรรมะภาคปฏิบัติ)
 

จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
     จุดหมายสูงสุด ของพระพุทธศาสนา พึงบรรลุได้ด้วยความสุขหรือด้วยข้อปฏิบัติที่มีความสุข มิใช่บรรลุด้วยความทุกข์ หรือด้วยข้อปฏิบัติที่เป็นทุกข์
      ผู้ปฏิบัติจะต้องไม่ติดใจหลงไหลในความสุขที่เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ปล่อยให้ความสุขที่เกิดขึ้นนั้น ครอบงำ
        จิตใจของตน ยังมีจิตใจเป็นอิสระ สามารถก้าวหน้าไปในธรรมเบื้องสูง ต่อๆ ไป จนบรรลุความเป็นอิสระ
        หลุดพ้นโดยบริบูรณ์
      ซึ่งเมื่อบรรลุจุดหมายนั้นแล้ว ก็สามารถเสวยความสุขที่เคยเสวยมาแล้ว โดยที่ความสุขนั้น ไม่มีโอกาส
        ครอบงำจิตใจ ทำให้ติดพันหลงไหลได้เลย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

หลักแห่งพระพุทธศาสนาโดยสรุป
     พุทธศาสนาคือวิชาและระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้รู้สิ่งทั้งปวงถูกต้องตามที่เป็นจริงว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งทั้งปวง มีสภาพตามที่เป็นจริง คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวหรือของตัว ; แต่สัตว์ทั้งหลายยังหลงรัก หลงยึดติดสิ่งทั้งปวง เพราะอำนาจของการยึดมั่นที่ผิด ในพุทธศาสนามีวิธี ปฏิบัติเรียกว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัดการติดการยึดมั่นนั้นเสีย อุปาทาน การยึดมั่นนั้นมีสิ่งที่ลงเกาะหรือจับยึด คือ ขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
      เมื่อรู้จักขันธ์ทั้งห้า ตามที่เป็นจริง ก็จะสามารถเข้าใจสิ่งทั้งปวงจนถึงกับเบื่อหน่ายคลายความอยาก ไม่ยึดอะไร ติดอะไร และเราควรจะมีชีวิตอยู่อย่างที่เรียกว่า "เป็นอยู่ชอบ" คือให้ วันคืนเต็มไปด้วยความปีติ ปราโมทย์ อันเกิดมาจากการกระทำที่ดีที่งามที่ถูกต้องอยู่เป็นประจำ แล้วระงับความฟุ้งซ่าน เกิดสมาธิ เกิดความเห็นแจ้งได้เรื่อยๆ ไป จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย ความคลายออก ความหลุดพ้น และนิพพานได้ตามความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
      ถ้าเราจะรีบเร่งทำให้ได้ผลเร็วขึ้น ก็มีแนวปฏิบัติที่เรียกว่า วิปัสสนาธุระ เริ่มตั้งแต่มี ความประพฤติบริสุทธิ์ มีใจบริสุทธิ์ มีความเห็นบริสุทธิ์ เรื่อยขึ้นไปจนถึงมีปัญญา คือความเห็นแจ้งบริสุทธิ์ ในที่สุดก็จะตัดกิเลสที่ผูกมัดคนให้ติดอยู่กับวิสัยโลกออกเสียได้ เรียกว่า การบรรลุมรรคผล
ท่านพุทธทาสภิกขุ : คู่มือมนุษย์



สงวนลิขสิทธิ์โดย ธรรมะพีเดีย.คอม
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา โดยไม่มุ่งหวังผลทางพาณิชย์
อนุญาตให้นำไปเผยแผ่เพื่อสืบต่อพุทธศาสนาได้ตามกุศลเจตนา

www.thammapedia.com
( ศูนย์เผยแผ่พระพุทธธรรม )
Copyright © 2008 ALL RIGHTS RESERVED
 
 
หน้าหลัก