หน้าหลัก พระธรรม หนังสือธรรมะ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) หน้าที่ ๓
Search:
"อานนท์เอย ! พึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า ธรรมวินัยอันใดที่เราได้แสดงแล้ว บัญญัติแล้ว ขอให้ธรรมวินัยอันนั้น จงเป็นศาสดาของพวกเธอแทนเราต่อไป เธอทั้งหลายจงมีธรรมวินัยเป็นที่พึ่งเถิด อย่าได้มีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่งเลย"
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน
อาจารย์วศิน อินทสระ

“ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา
ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม


 มีพุทธพจน์แห่งหนึ่ง สรุปธรรมทั้งหมดไว้ดังนี้
  ๑. ธรรมทั้งปวง มีฉันทะเป็นมูล (ฉนฺทมูลกา) ๖. ธรรมทั้งปวง มีสติเป็นเจ้าใหญ่ (สตยาธิปเตยฺยา)
  ๒. ธรรมทั้งปวง มีมนสิการเป็นต้นกำเนิด (มนสิการสมฺภวา) ๗. ธรรมทั้งปวง มีปัญญาเป็นยิ่งยอด (ปญฺญุตฺตรา)
  ๓. ธรรมทั้งปวง มีผัสสะเป็นที่ก่อตัวขึ้น (ผสฺสสมุทยา) ๘. ธรรมทั้งปวง มีวิมุติเป็นแก่น (วิมุตฺติสารา)
  ๔. ธรรมทั้งปวง มีเวทนาเป็นที่ชุมนุม (เวทนาสโมสรณา) ๙. ธรรมทั้งปวง มีอมตะเป็นที่หยั่งลง (อมโตคธา)
  ๕. ธรรมทั้งปวง มีสมาธิเป็นประมุข (สมาธิปมุขา) ๑๐. ธรรมทั้งปวง มีนิพพานเป็นที่สิ้นสุด (นิพพานปริโยสานา)
 

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) :
สัมมาสมาธิและสมาธิแบบพุทธ

หน้าแรก : หมวดพระธรรม
หน้าหลัก : หนังสือธรรมะ
วัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม
เว็บไซต์ : http://www.watnyanaves.net
(รวมทั้งหมด ๓๕๘ เล่ม)

201 ผู้พิพากษาตั้งตุลาให้สังคมสมในดุล 251 มองหนังสือพุทธธรรม ถามหาอนาคต
202 ฝรั่งเจริญเพราะดิ้นรนให้พ้นจากการบีบคั้นของศาสนาคริสต์ 252 มองอเมริกา มาแก้ปัญหาไทย
203 ฝังลูกนิมิต-ผูกสีมา วัดญาณเวศกวัน 253 มาตรฐานชีวิตของชาวพุทธ
204 พ.ร.บ. คณะสงฆ์ เรื่องเก่า ที่เถียงกันใหม่ ข้อคิดเก่าๆ 254 ยามเจ็บไข้ รักษาใจได้ ยามถึงคราวของธรรมดา มีปัญญารู้เท่าทัน
205 พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม 255 ยิ่งก้าวถึงสูข ยิ่งใกล้ถึงธรรม
206 พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ [สำหรับพิมพ์ครั้งที่ ๒๑ เป็นต้นไป] 256 ระลึกนึกถึงความตาย และวิธีปฏิบัติให้ถูกต้องต่อความตาย
207 พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยจิตวิทยาแบบยั่งยืน 257 รักษาใจผู้ป่วยและผู้พยาบาล
208 พรตลอดปี ชีวิตดีตลอดไป 258 รักษาใจผู้ป่วยและผู้พยาบาล [Size 14x21]
209 พรที่สัมฤทธิ์แก่ผุ้ดำเนินชีวิตที่ดี 259 รักษาใจยามป่วยไข้
210 พระไตรปิฎกสิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้ 260 รักษาใจยามรักษาคนไข้
211 พระไตรปิฎกสิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้ [ฉบับ ๒ พากย์] 261 รัฐกับพระพุทธศาสนา ถึงเวลาชำระล้างหรือยัง
212 พระไตรปิฎกสิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้ [Lt. Gen Damrong Edition] 262 รัฐศาสตร์เพื่อชาติ VS รัฐศาสตร์เพื่อโลก
213 พระไตรปิฎกอยู่นี่-อยู่ที่ชวนกันไม่ประมาทในการศึกษา 263 รัฐศาสตร์แนวพุทธตอนจริยธรรมนักการเมือง
214 พระไทย ใช่เขาใช่เรา นิพพาน-อนัตตา ฉบับเพียงเพื่อไม่ประมาท 264 ร่าเริงสดใส สู่ความเกษมศานต์
215 พระกับป่ามีปัญหาอะไร 265 ร่ำรวย ยิ่งใหญ่ เลื่อนลอย หรือเพื่ออะไร
216 พระธรรมทูตไทยเบิกทางสู่อารยธรรมใหม่ 266 ร่ำรวย ยิ่งใหญ่เลื่อนลอย หรือเพื่ออะไร และ ชีวิตที่สมบูรณ์
217 พระพุทธศาสนาในอาเซีย 267 รุ่งอรุณของการศึกษา เบิกฟ้าสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
218 พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ 268 รุ่งอรุณของการศึกษา
219 พระพุทธศาสนากับการบริจาคอวัยวะ 269 รู้ให้ถึงทำให้ถูก
220 พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม 270 รู้ไว้เสริมปัญญา และพัฒนาคน
221 พัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทย 271 รู้จักอเมริกา หันมาดูศักยภาพของไทย
222 พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยจิตวิทยาแบบยั่งยืน 272 รู้หลักก่อน แล้วศึกษาและสอนให้ได้ผล
223 พัฒนาตน 273 ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
224 พัฒนาปัญญา 274 วัฒนธรรมกับการพัฒนา
225 พัฒนาวัฒนธรรมในตัวคนไทย 275 วันสำคัญของชาวพุทธไทย
226 พัฒนาสังคมไทย ด้วยความรู้เข้าใจไตรภูมิ ฉบับ ๒ พากย์ ไทย-อังกฤษ 276 วาสนาสร้างเองได้
227 พัฒนาสังคมไทย ด้วยความรู้เข้าใจไตรภูมิฯ 277 วิถีแห่งปราชญ์ [ฉบับสมบูรณ์]
228 พิธีกรรม ใครว่าไม่สำคัญ 278 วิถีสู่สันติภาพ
229 พุทธธรรม [ฉบับเดิม] 279 วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม
230 พุทธธรรม [ฉบับปรับขยาย] 280 วินัยเรื่องใหญ่กว่าที่คิด
231 พุทธธรรมกับการฝึกหัดครู 281 วินัยชาวพุทธ
232 พุทธธรรมกับการพัฒนาชีวิต 282 วินัยชาวพุทธ [ฉบับ ๒ พากย์]
233 พุทธวิธีแก้ปัญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑ 283 วิสัยธรรม เพื่อเบิกนำวิสัยทัศน์
234 พุทธวิธีแก้ปัญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑ [ฉบับ ๒ พากย์] 284 ศาสนาและเยาวชน
235 พุทธวิธีในการสอน 285 ศิลปศาสตร์ เพื่อการศึกษาที่ยั่งยื่น
236 พุทธศาสน์กับการแนะแนว 286 ศิลปศาสตร์แนวพุทธ
237 พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์ 287 สถานการณ์พระพุทธศาสนา ทวนกระแสไสยศาสตร์
238 พุทธศาสนากับชีวิตและสังคม 288 สถานการณ์พุทธศาสนาพลิกหายนะเป็นพัฒนา
239 ฟื้นสุขภาวะ ยามสังคมวิกฤต 289 สถาบันสงฆ์ในสังคมไทย
240 ภัยแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศไทย 290 สถาปนาธรรมให้เกิดมีและยืนยงในสังคม
241 ภัยแห่งพระพุทธศาสนา - ความรู้เพื่อพัฒนาการนับถือศาสนาของคน 291 สนทนาธรรม คติจตุคามรามเทพ
242 ภาวะผู้นำ 292 สมาธิ ฐานสู่สุขภาพจิตและปัญญาหยั่งรู้
243 ภาวะผู้นำ & จริยธรรมนักการเมือง 293 สมาธิแบบพุทธ
244 ภาษาวรรณกรรมและวัฒนธรรมไทยท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลก 294 สยามสามไตร
245 ภูมิธรรมชาวพุทธ 295 สร้างวาสนา-เพิ่มค่าให้อายุ
246 มรณกถา 296 สลายความขัดแย้ง นิติศาสตร์-รัฐศาสตร์-เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
247 มองให้ลึกนึกให้ไกล 297 สลายความขัดแย้ง สังคมศาสตร์ที่หยั่งถึงธรรมชาติ
248 มองธรรมถุกทาง มีสุขทุกที่ 298 สลายความขัดแย้ง
249 มองวิสาขบูชา หยั่งถึงอารยธรรมโลก 299 สอนนาค-สอนฑิต ชีวิตพระ-ชีวิตชาวพุทธ
250 มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์ 300 สังคมจะเฟื่องฟู ต้องเชิดชูบัณฑิต
<< กลับ [1] [2] [3] [4] ถัดไป >>

ฟังธรรมะบรรยาย
(มากกว่า ๔,๐๐๐ ไฟล์)

อ่านพระไตรปิฎก
(คัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา)
อ่านหนังสือธรรมะออนไลน์
(โดยพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง)
วิธีปฏิบัติธรรม
(ธรรมะภาคปฏิบัติ)
 

จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
     จุดหมายสูงสุด ของพระพุทธศาสนา พึงบรรลุได้ด้วยความสุขหรือด้วยข้อปฏิบัติที่มีความสุข มิใช่บรรลุด้วยความทุกข์ หรือด้วยข้อปฏิบัติที่เป็นทุกข์
      ผู้ปฏิบัติจะต้องไม่ติดใจหลงไหลในความสุขที่เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ปล่อยให้ความสุขที่เกิดขึ้นนั้น ครอบงำ
        จิตใจของตน ยังมีจิตใจเป็นอิสระ สามารถก้าวหน้าไปในธรรมเบื้องสูง ต่อๆ ไป จนบรรลุความเป็นอิสระ
        หลุดพ้นโดยบริบูรณ์
      ซึ่งเมื่อบรรลุจุดหมายนั้นแล้ว ก็สามารถเสวยความสุขที่เคยเสวยมาแล้ว โดยที่ความสุขนั้น ไม่มีโอกาส
        ครอบงำจิตใจ ทำให้ติดพันหลงไหลได้เลย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

หลักแห่งพระพุทธศาสนาโดยสรุป
     พุทธศาสนาคือวิชาและระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้รู้สิ่งทั้งปวงถูกต้องตามที่เป็นจริงว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งทั้งปวง มีสภาพตามที่เป็นจริง คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวหรือของตัว ; แต่สัตว์ทั้งหลายยังหลงรัก หลงยึดติดสิ่งทั้งปวง เพราะอำนาจของการยึดมั่นที่ผิด ในพุทธศาสนามีวิธี ปฏิบัติเรียกว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัดการติดการยึดมั่นนั้นเสีย อุปาทาน การยึดมั่นนั้นมีสิ่งที่ลงเกาะหรือจับยึด คือ ขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
      เมื่อรู้จักขันธ์ทั้งห้า ตามที่เป็นจริง ก็จะสามารถเข้าใจสิ่งทั้งปวงจนถึงกับเบื่อหน่ายคลายความอยาก ไม่ยึดอะไร ติดอะไร และเราควรจะมีชีวิตอยู่อย่างที่เรียกว่า "เป็นอยู่ชอบ" คือให้ วันคืนเต็มไปด้วยความปีติ ปราโมทย์ อันเกิดมาจากการกระทำที่ดีที่งามที่ถูกต้องอยู่เป็นประจำ แล้วระงับความฟุ้งซ่าน เกิดสมาธิ เกิดความเห็นแจ้งได้เรื่อยๆ ไป จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย ความคลายออก ความหลุดพ้น และนิพพานได้ตามความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
      ถ้าเราจะรีบเร่งทำให้ได้ผลเร็วขึ้น ก็มีแนวปฏิบัติที่เรียกว่า วิปัสสนาธุระ เริ่มตั้งแต่มี ความประพฤติบริสุทธิ์ มีใจบริสุทธิ์ มีความเห็นบริสุทธิ์ เรื่อยขึ้นไปจนถึงมีปัญญา คือความเห็นแจ้งบริสุทธิ์ ในที่สุดก็จะตัดกิเลสที่ผูกมัดคนให้ติดอยู่กับวิสัยโลกออกเสียได้ เรียกว่า การบรรลุมรรคผล
ท่านพุทธทาสภิกขุ : คู่มือมนุษย์



สงวนลิขสิทธิ์โดย ธรรมะพีเดีย.คอม
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา โดยไม่มุ่งหวังผลทางพาณิชย์
อนุญาตให้นำไปเผยแผ่เพื่อสืบต่อพุทธศาสนาได้ตามกุศลเจตนา

www.thammapedia.com
( ศูนย์เผยแผ่พระพุทธธรรม )
Copyright © 2008 ALL RIGHTS RESERVED
 
 
หน้าหลัก